บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน 20, 2020

วิกฤติโควิด-19 ในประเทศไทย : การเปลี่ยนผ่านจากมาตรการ “กึ่งล๊อคดาวน์” เข้าสู่มาตรการ “ สร้างเสถียรภาพ”

รูปภาพ
วิกฤติโควิด-19 ในประเทศไทย :   การเปลี่ยนผ่านจากมาตรการ “กึ่งล๊อคดาวน์” เข้าสู่มาตรการ “ สร้างเสถียรภาพ” คณะผู้จัดทำข้อเสนอ นักวิชาการ : น.พ. คำนวณ อึ้งชูศักดิ์,  น.พ. ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ , น.พ. ยง ภู่วรวรรณ,    น.พ. ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา, น.พ. ทวี โชติพิทยสุนนท์,  น.พ. ครรชิต ลิมปกาญจนารัตน์,  น.พ. ธนรักษ์ ผลิพัฒน์,   อดีตผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข : น.พ. หม่อมหลวงสมชาย จักรพันธุ์ , น.พ. ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์, น.พ. ไพจิตร์ วราชิต,  น.พ. โสภณ เมฆธน,  น.พ. เจษฎา โชคดำรงสุข,  น.พ. ธวัช สุนทราจารย์, น.พ. มานิต ธีระตันติกานนท์, น.พ. ประพนธ์ ตั้งศรีเกียรติกุล,  บทสรุปย่อ โรคโควิด-19 เป็นโรคอุบัติใหม่ที่แพร่จากคนสู่คนผ่านการได้รับฝอยละอองที่ออกมาจากปากและจมูกของผู้ติดเชื้อไปสู่คนใกล้ชิด  เนื่องจากเป็นโรคที่คนไม่มีภูมิคุ้มกันจึงแพร่ระบาดได้รวดเร็วและมีความรุนแรงมากเป็นพิเศษในผู้สูงอายุและผู้มีโรคประจำตัว  องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้เป็นโรคระบาดทั่วโลก (Pandemic) ซึ่งไม่สามารถกำจัดให้หมดไปได้ในระยะเวลาอันสั้น  มาตรการที่ใช้ในการควบคุมโรคระบาดโควิดประกอบด้วยสามกลุ่มใหญ่ๆ  กลุ่มแรกคือมาตรการทางด