Fluid Electrolyte in pediatric

การคำนวณ Fluid ต่อวัน
1. จำนวน =Maintenace + Deficit + loss

1.1 Maintenance Fluid ให้ตามน้ำหนักดังนี้
0-10 kg = 100 cc/kg
10-20 kg = 50 cc/kg
>20 kg = 20 cc/kg
Premature ให้ 120-150 cc/kg

1.2 Deficit จำนวน Fluid ที่ขาดไปโดยแบ่งเป็น 3 ระดับ mild, moderate, severe
mild :3-5 % (ประวัติอาเจียน ถ่ายเหลว)
moderate :5-7 % (ตรวจร่างกายพบ poor skin turgor, depress frontanel, sunken eye)
severe :7-10 %(shock, urine ออกน้อย)
การคำนวณตามน้ำหนักตัว เช่น เด็ก 10 kg ขาด 10% เท่ากับจำนวนที่ขาดไป 1000 cc
(บางท่านmild 3-5% moderate 5-10% severe 10-15%)

1.3 Concurrent Loss
NG tube ให้ตามจำนวนที่ loss (NSS)
Temperature อุณหภูมิ ขึ้น 1 องศา ให้น้ำเพิ่ม 10% ของ maintenance
Phototherapy ให้น้ำเพิ่ม 10% ของ maintenance

2. ชนิดสารน้ำ

ให้รวม maintenance+deficit และให้พร้อมกันดู electrolyte ในเลือดที่ตรวจได้
Na : 130-150 mEq/L ให้ 5%DN/3
Na : <130 mEq/L ให้ 5%DN/2
Na : >150 mEq/L ให้ 5%DN/5

การคำนวณ Electrolyte ต่อวัน
ความต้องการปกติต่อวันต่อน้ำหนักตัว
Na 2-3 mEq/kg
K 2-3 mEq/kg
Ca 20-40 mg/kg
PO4 20-40 mg/kg
Mg 0.3-0.5 mEq/kg

3. Rate กรณี Dehydrate มาก(moderate-severe)เริ่มให้ 10-20 cc/kg/hr x 2 hr
ถ้า shock ให้ 20-40 cc/kg in 15-30 min [5%DNSS,RLS,Acetar]
หากurine ,vital sign ดีแล้วให้ ส่วนที่เหลือแบ่งให้ครบต่อวันไป

ตัวอย่าง 
10 kg+ 10% deficit = 2,000 cc/24 hrให้ 200 cc x 2 ชั่วโมงแรก(400cc) เหลือ 1,600 cc/22 hr[70cc/hr]

บางท่าน อาจใช้วิธีแบ่งให้ 50% ใน 8 ชั่วโมงแรก ที่เหลือใน 16 ชั่วโมงก็ได้
ตัวอย่าง 10 kg +NG content ออก 200 + T39(200) = 1,400 cc/24 hr

ที่มา
1. http://elearning.medicine.swu.ac.th/pedia/wp-content/uploads/2011/04/2503-Principle-of-fluid-electrolyte-therapy-sheet-July48.pdf อ้างใน http://pediatricnote.wikispaces.com/Fluid+electrolyte
2. http://www.si.mahidol.ac.th/km/cops/anesthesiology_Dept_Siriraj/admin/knowledge_files/678_0.pdf


การคำนวนปริมาณสารน้ำ
-คำนวณปริมาณสารน้ำที่ควรได้ต่อวันก่อน ซึ่งจะประกอบด้วย maintenance fluid (คำนวณตามสูตรของ Holiday&Segar) + fluid deficit + ongoing loss

-แต่ถ้าคนไข้รับประทานได้ ปริมาณน้ำที่ต้องการทาง IV จะลดลง เช่น อาจให้แค่ 1/2M (ครึ่งหนึ่งของ maintenance fluid)

-สูตร Holiday&Segar: 10kgแรกให้คูณ 100 , 10kg ต่อมาให้คูณ 50 , น้ำหนักที่เหลือให้คูณ 20 หน่วยเป็น ml. หรือาจใช้ 35 ml/kg/day ก็ได้

-Fluid deficit คือ ปริมาณน้ำที่ขาดไป ที่ต้องให้เข้าไปเพิ่ม สามารถประเมินออกมาได้เป็น %โดย 1 % deficit จะเท่ากับ10 มล./กก.

-Ongoing loss(concurrent loss) คือ น้ำที่ยังมีการสูญเสียจากร่างกายอีก เช่น ยังท้องเสีย หรืออาเจียนอยู่ เป็นต้น

ที่มา
1.http://www.phimaimedicine.org/2010/02/336-intravenous-fluid.html

แนะนำให้อ่านเพิ่มเติม
1. http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/km/images/stories/km-surgical-nursing/TWA.pdf
2. http://www.authorstream.com/Presentation/thepakorns-1217066-fluid-therapy/


***ควรให้อาจารย์อธิบายเพิ่มเติม***


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย (Discharge planning)

ความหมาย และความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์

เก็งแนวข้อสอบสภาการพยาบาลพร้อมเฉลยฉบับที่1