การดูแลผู้ป่วย on IABP by supachai triukose

ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

ผมเข้าใจว่าคุณคงรู้จักเครื่อง IABP กันแล้วนะ 
แต่ก่อนตอบคำถามที่ถามมาผมขอย้อนทบทวนนิดหน่อยนะ 

IABP เป็นเครื่องมือที่มีลูกโป่ง Balloon อยู่ที่ปลายสาย ใส่เข้าไปทางเส้นเลือดแดง ปลายสายอยู่ที่ตำแหน่งของ descending aorta 
ตำ่กว่าส่วนของ Left subclavian artery ประมาณ 1 cm. 
ขนาดลูกโป่งที่ใช้ ( 8.5fr - 9.5 fr ) ขึ้นอยู่กับขนาดของร่างกายของผู้ป่วย 
IABP นี้จะมี sensor ส่งสัญญาณต่อเข้าเครื่อง computer ที่ควบคุมการทำให้ balloon โป่ง หรือ แฟบ ตามจังหวะการบีบตัวของหัวใจ

ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

การ Timing ของ IABP ก็คือการตั้งเครื่องให้ balloon โป่ง (inflate) หรือ แฟบ ( deflate ) ตามจังหวะการปั้มของหัวใจ
เพราะถ้าเราตั้งให้ balloon ปั้มไม่สัมพันธ์กับหัวใจปั้ม นอกจากจะไม่ได้ผลดีจาก การปั้มของ balloon แล้วยังอาจทําให้เกิดผลเสียต่อผู้ป่วย
เครื่อง IABP สมัยปัจจุบัน ทันสมัยและช่วยได้ดีมากเพราะใช้ computer ช่วยในการ Timing ทำให้การ Inflate และ deflate มีสัมพันธ์กับการทำงานของหัวใจได้ถูกต้อง ดีมาก

ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

การ Timing ของ IABP

การ Timing ของ IABP ก็คือการตั้งเครื่องให้ balloon โป่ง (inflate) หรือ แฟบ ( deflate ) ตามจังหวะการปั้มของหัวใจ เพราะถ้าเราตั้งให้ balloon ปั้มไม่สัมพันธ์กับหัวใจปั้ม นอกจากจะไม่ได้ผลดีจากการปั้มของ balloon แล้วยังอาจทําให้เกิดผลเสียต่อผู้ป่วย
ก่อนอื่นคุณต้องรู้จัก waveform ที่เรียกว่า dicrotic notch (DN), DN เป็น waveform ที่เกิดจากการปิดของ aortic valve ( ดูที่รูปที่ 2 )
จังหวะเวลาที่ถูกต้องของการ inflate balloon ก็คือ inflate ทันที ที่ aortic valve ปิด หรือที่ dicrotic notch
รูปที่ 3 ถ้าคุณ inflate ก่อนที่ aortic valve จะปิดสนิท หรือก่อน dicrotic notch เราเรียกว่า early inflation ซึ่งจะมีผลทำให้ stroke volume และ cardiac output ลดน้อยลง และจะทําให้เหลือจำนวนเลือดใน left ventricle มากขึ้น
รูปที่ 4. แต่ถ้าคุณ inflate ภายหลังที่ aortic valve ปิดไปแล้วคือ inflate ช้าไป ที่เรียกว่า late inflation จะมีผลทำให้ Augmentation ( ค่าความดันที่ Aorta ที่เกิดจากการ inflate ของ balloon ) ไม่ได้สูงมากเท่าที่ควรและทำให้มีเลือดไหลกลับไปเลี้ยงหัวจน้อยลงทั้งจำนวนและแรงดัน ( perfusion pressure )
ส่วนการแฟบ (deflate) ของ balloon นั้นจะต้องแฟบก่อนที่จะมีการปั้มของกล้ามเนื้อหัวใจ ดูจาก waveform balloon จะแฟบตรงจุดที่สิ้นสุดของ diastolic กับจุดเริ่มต้นของความดันที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการปั้มของกล้ามเนื้อของหัวใจ ( รูปที่ 1 ที่ผมเขียนวงกลมรอบตัว P ไว้ )
รูปที่ 5 ถ้าคุณทำให้ ballon แฟบก่อนที่หัวใจจะปั้ม ที่เรียกว่า early deflate จะมีผลทำให้ afterload ไม่ลดน้อยลง ( afterload reduction ) ไม่ได้ช่วยให้หัวใจปั้มเลือดออกได้ง่ายขึ้น
รูปที่ 6. ถ้าคุณทำให้ balloon แฟบช้าไป หรือ่กิดขึ้นที่หลังจากการที่หัวใจเริ่มปั้ม ที่เรียกว่า late deflation จะมีผลทำให้หัวใจต้องทำงานหนักมากเพิ่มขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการอ๊อกซิเจนมากขึ้น ( myocardium oxygen demand ) ซึ่งอาจจะทําให้กล้ามเนื้อของหัวใจได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ อาจเกิดการเสียหายและเซลกล้ามเนื้อตายได้

ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ
รูปที่ 1 





ในภาพอาจจะมี ข้อความ
รูปที่ 2 ก่อนอื่นคุณต้องรู้จัก waveform ที่เรียกว่า dicrotic notch (DN), DN เป็น waveform ที่เกิดจากการปิดของ aortic valve






ในภาพอาจจะมี ข้อความ
รูปที่ 3 ถ้าคุณ inflate ก่อนที่ aortic valve จะปิดสนิท หรือก่อน dicrotic notch เราเรียกว่า early inflation ซึ่งจะมีผลทำให้ stroke volume และ cardiac output ลดน้อยลง และจะทําให้เหลือจำนวนเลือดใน left ventricle มากขึ้น





ในภาพอาจจะมี ข้อความ

รูปที่ 4. แต่ถ้าคุณ inflate ภายหลังที่ aortic valve ปิดไปแล้วคือ inflate ช้าไป ที่เรียกว่า late inflation จะมีผลทำให้ Augmentation 
( ค่าความดันที่ Aorta ที่เกิดจากการ inflate ของ balloon ) ไม่ได้สูงมากเท่าที่ควรและทำให้มีเลือดไหลกลับไปเลี้ยงหัวจน้อยลงทั้งจำนวนและแรงดัน ( perfusion pressure )
ส่วนการแฟบ (deflate) ของ balloon นั้นจะต้องแฟบก่อนที่จะมีการปั้มของกล้ามเนื้อหัวใจ ดูจาก waveform balloon จะแฟบตรงจุดที่สิ้นสุดของ diastolic กับจุดเริ่มต้นของความดันที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการปั้มของกล้ามเนื้อของหัวใจ 
( รูปที่ 1 ที่ผมเขียนวงกลมรอบตัว P ไว้ )




ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

รูปที่ 5 ถ้าคุณทำให้ ballon แฟบก่อนที่หัวใจจะปั้ม ที่เรียกว่า early deflate จะมีผลทำให้ afterload ไม่ลดน้อยลง ( afterload reduction ) ไม่ได้ช่วยให้หัวใจปั้มเลือดออกได้ง่ายขึ้น



ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

รูปที่ 6. ถ้าคุณทำให้ balloon แฟบช้าไป หรือ่กิดขึ้นที่หลังจากการที่หัวใจเริ่มปั้ม ที่เรียกว่า late deflation จะมีผลทำให้หัวใจต้องทำงานหนักมากเพิ่มขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการอ๊อกซิเจนมากขึ้น 
( myocardium oxygen demand ) ซึ่งอาจจะทําให้กล้ามเนื้อของหัวใจได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ อาจเกิดการเสียหายและเซลกล้ามเนื้อตายได้


ในภาพอาจจะมี ข้อความ


ไม่มีข้อความกำกับภาพอัตโนมัติ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ความหมาย และความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์

การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย (Discharge planning)

เก็งแนวข้อสอบสภาการพยาบาลพร้อมเฉลยฉบับที่1