วงจรเดมมิ่ง PDCA
PDCA
วงจรเดมมิ่ง PDCA
วงจร PDCA ได้รับการพัฒนามาจากวงจรเดมมิ่ง ซึ่งเป็นแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างคุณภาพของสินค้า วงจรเดมมิ่งแสดงความสัมพันธ์ของการออกแบบ ผลิต จำหน่าย และการวิเคราะห์ตลาด เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ
เมื่อวงจรเดมมิ่งได้ถูกนำไปใช้และพัฒนาขึ้นเรื่อยๆจนกลายเป็นวงจร PDCA ทำให้วงจร P DCA ดังกล่าวได้กลายมาเป็นหลักในการบริหารงานอย่างแพร่หลาย ทั้งระดับองค์กร ระดับแผนก และระดับพนักงาน
วงจร PDCA มาจากคำภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ซึ่งต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ได้แก่
• P –Plan วางแผน โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ และตั้งเป้าหมาย กำหนดขั้นตอนวิธีการ และระยะเวลา จัดสรรทรัพยากรที่จำเป็นทั้งในด้านบุคคล เครื่องมืองบประมาณ
• D- Do ปฏิบัติ โดยการทำความเข้าใจ และลงมือปฏิบัติตามแผน
• C-Check ตรวจสอบ เพื่อติดตามความคืบหน้า และดูผลสำเร็จของงานเมื่อเทียบกับแผน
• A-Act ดำเนินการให้เหมาะสม หากการปฏิบัติเป็นที่น่าพอใจ ก็จัดให้เป็นมาตรฐานเพื่อเป็นแนวทางให้ปฏิบัติต่อไป หากการปฏิบัติมีข้อควรปรับปรุง ให้กำหนดวิธีการปรับปรุงต่อไป
หากเราทำกิจกรรมเพียงเรื่องเล็กๆ เช่น จัดกระเป๋านักเรียน ทำการบ้าน เดินทางไป โรงเรียน กิจกรรมแต่ละอย่าง เราก็ใช้เพียงแค่ PDCA ธ รรมดา แต่บางครั้ง ขั้นตอนต่างๆก็ไม่สามารถแยก PDCA ออกจากกันได้เด็ดขาด หรือกรณีการรับผิดชอบงานในขอบเขตกว้าง ใช้ระยะเวลาการทำงานที่ยาวนาน เราจะพบว่า ใน PDCA ก ็ยังต้องมี pdca อ ีก หรือเรียกง่าย ๆว่า ใน PDCA ใหญ่ๆ ก็ต้องมี pdca ย่อยๆอีก เพื่อให้งานสำเร็จ
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก youth project
วงจรเดมมิ่ง PDCA
วงจร PDCA ได้รับการพัฒนามาจากวงจรเดมมิ่ง ซึ่งเป็นแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างคุณภาพของสินค้า วงจรเดมมิ่งแสดงความสัมพันธ์ของการออกแบบ ผลิต จำหน่าย และการวิเคราะห์ตลาด เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ
เมื่อวงจรเดมมิ่งได้ถูกนำไปใช้และพัฒนาขึ้นเรื่อยๆจนกลายเป็นวงจร PDCA ทำให้วงจร P DCA ดังกล่าวได้กลายมาเป็นหลักในการบริหารงานอย่างแพร่หลาย ทั้งระดับองค์กร ระดับแผนก และระดับพนักงาน
วงจร PDCA มาจากคำภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ซึ่งต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ได้แก่
• P –Plan วางแผน โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ และตั้งเป้าหมาย กำหนดขั้นตอนวิธีการ และระยะเวลา จัดสรรทรัพยากรที่จำเป็นทั้งในด้านบุคคล เครื่องมืองบประมาณ
• D- Do ปฏิบัติ โดยการทำความเข้าใจ และลงมือปฏิบัติตามแผน
• C-Check ตรวจสอบ เพื่อติดตามความคืบหน้า และดูผลสำเร็จของงานเมื่อเทียบกับแผน
• A-Act ดำเนินการให้เหมาะสม หากการปฏิบัติเป็นที่น่าพอใจ ก็จัดให้เป็นมาตรฐานเพื่อเป็นแนวทางให้ปฏิบัติต่อไป หากการปฏิบัติมีข้อควรปรับปรุง ให้กำหนดวิธีการปรับปรุงต่อไป
หากเราทำกิจกรรมเพียงเรื่องเล็กๆ เช่น จัดกระเป๋านักเรียน ทำการบ้าน เดินทางไป โรงเรียน กิจกรรมแต่ละอย่าง เราก็ใช้เพียงแค่ PDCA ธ รรมดา แต่บางครั้ง ขั้นตอนต่างๆก็ไม่สามารถแยก PDCA ออกจากกันได้เด็ดขาด หรือกรณีการรับผิดชอบงานในขอบเขตกว้าง ใช้ระยะเวลาการทำงานที่ยาวนาน เราจะพบว่า ใน PDCA ก ็ยังต้องมี pdca อ ีก หรือเรียกง่าย ๆว่า ใน PDCA ใหญ่ๆ ก็ต้องมี pdca ย่อยๆอีก เพื่อให้งานสำเร็จ
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก youth project
ความคิดเห็น