บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน 17, 2010

การให้ยา

ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่ รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของ มนุษย์ หรือ สัตว์ , วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์ ประเภทของยา แบ่งตาม พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม  ( http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B2 ) 1.ยาสามัญประจำบ้าน เป็นยาที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าปลอดภัย โอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีน้อย ให้วางจำหน่ายได้โดยทั่วไป และผู้ซื้อสามารถตัดสินใจซื้อด้วยตนเองตามอาการเจ็บป่วย แต่ยาที่เป็นยาสามัญประจำบ้านได้นั้นต้องเป็นตำรับยา สรรพคุณ ขนาด วิธีใช้ คำเตือนการเก็บรักษา และขนาดบรรจุตามที่กำหนด 2.ยาอันตราย เป็นยาที่ต้องขายเฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบันภายใต้การควบคุมของ 3.ยาควบคุมพิเศษ เป็นยาที่จ่ายได้เมื่อมีการนำใบสั่งยามาซื้อยา กลุ่มนี้เป็นยาที่มีความเป็นพิษภัยสูงหรืออาจก่ออันตรายต่อสุขภาพได้ง่าย จึงเป็นยาที่ถูกจำ...

สมดุลกรด - ด่าง

บทเรียนโปรแกรม สมดุลกรด - ด่าง (acid - base balance) โดย อ.นัยนา เตโชฬาร คลิก อ่านบทเรียน ขอขอบพระคุณอ.นัยนา เตโชฬาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ เป็นอย่างสูง

ระเบียบวิธีวิจัย

คลิกลิงค์เพื่ออ่าน ระเบียบวิธีวิจัย  ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์ ขอขอบพระคุณวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์ เป็นอย่างสูง

การดูดเสมหะทางจมูก Nasopharyngeal Suctioning

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา

คลิกไปยังลิงค์ กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา 1 ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ คลิกไปยังลิงค์ กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา2  ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ ขอขอบพระคุณคณาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ เป็นอย่างสูง

การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการเจาะหลอดลมคอ

อ่านเพิ่มเติม e-learning ที่น่าอ่านมากค่ะ http://www.unc.ac.th/elearning/elearning1/nisaratweb/Home.htm ขอขอบพระคุณ อาจารย์นิศารัตน์ นาคทั่ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ เป็นอย่างสูง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูดเสมหะ

หลังจากท่านได้ดูวีดีโอการดูดเสมหนะนี้แล้ว อยากให้ทุกๆท่านช่วยกันแลกเปลี่ยนหน่อยนะคะ