บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน 15, 2010

หนังสั้นที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ: change

หนังสั้น: Forget อะไร คือ ความสุข

ลองนั่งลง...ดูหนังเรื่องนี้เงียบ..แล้วคุฯอาจได้อะไร...มากกว่าที่คิด

เพลงมงคลชีวิต 38 ประการ

ดั่งดอกไม้บาน

ขอเชิญร่วมกันเจริญสติ คลิก play เพื่อดูคลิป คลิก play เพื่อดูคลิป ขอขอบคุณ เสถียรธรรมสถาน

ความรักของแม่กบ

"ว้าย...ช่วยด้วย" แม่กบร้องลั่น หน้าตาตื่น กระโดดหลบเท้าช้างด้วยความตระหนกสุดขีด เจ้าช้างทั้งโขลง วิ่งลุยผ่านหนองน้ำไปแล้ว แม่กบ ถอนหายใจด้วยความโล่งอก แต่ แสงแดดที่แผดเผา ทำให้ฝูงลูกอ๊ออดของมันตกอยู่ในอันตราย "แม่จ๋า...ช่วยพวกเราด้วย" แม่กบหันไปดูลูกๆของมัน "ตายแล้ว  ลูกแม่...ถ้าแม่ไม่ทำอะไรสักอย่าง ลูกๆต้องแห้งตายแน่ๆ" แม่กบตัดสินใจ ใช้เท้าหลังแหวกดินโคลนที่ยังพอหลงเหลือความชุ่มชื้นอยู่บ้าง จากขอบบ่อน้ำเพื่อกรุยทางให้ลูกมันเข้าไปในบ่อได้ ลูกอ๊อดเฝ้ารอความช่วยเหลือจากแม่กบ ด้วยความกระวนกระวาย ในที่สุดแม่กบก็เปิดทางได้สำเร็จ น้ำจากบ่อค่อยๆไหลเข้าไปในปลักเล็กๆที่ลูกอ๊อดออกันอยู่ "ตามแม่มาลูก" แม่กบบอกลูกอ๊อด พลางว่ายนำหน้าลูกๆของมันเข้าสู่บ่อน้ำ นี่แหละหนา ความรักของแม่กบ... ฟังเพลง คำว่า...แม่ (เด็ก) Powered by you2play.com

การดูดเสมหะ

การดูดเสมหะ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ ทางเดินหายใจโล่งปราศจากเสมหะอุดตัน 2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการระบายอากาศหายใจ (ventilation) เพิ่มขึ้น และทำให้ปอดมีการแลกเปลี่ยน ก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ดีขึ้น 3. ป้องกันการเกิดปอดอักเสบที่อาจเป็นแผลจากการมีเสมหะคั่งค้างอยู่มากในทางเดินหายใจ เครื่องมือ 1. เครื่องดูดเสมหะ 2. หูฟัง 3. สายดูดเสมหะที่สะอาดปราศจากเชื้อ ผู้ใหญ่ใช้เบอร์ 14-16 เด็กใช้เบอร์ 8 - 10 4. ออกซิเจนและสายยางเหลือง 5. หลอดสำหรับต่อจากสายที่ต่อจากเครื่องดูดลายเสมหะ 6. ไม้กดลิ้นหรือ Mouth gag 7. ผ้าก๊อซ 2 ผืน 8. ยางรัด 2 เส้น 9. ถุงมือ Sterile 10. ขวดสะอาดขนาด 500 – 1,000 มล. 1 ขาดใส่น้ำต้มสุก หรือ sterile water 11.O2 Sat mornitor 12. ผ้าปิดปากและจมูก (Mask) 13. สำลี Alcohol 70 % 14.Ambu bag ข้อบ่งชี้ 1. เพื่อกำจัดเสมหะในหลอดลมที่ผู้ป่วยไม่สามารถกำจัดออกไปได้เองด้วยการไอ ในผู้ป่วยที่ใส่ท่อหลอดลม หรือได้รับการเจาะหลอดลม (endotracheal or tracheostomy tube) 2. เพื่อนำเอาเสมหะไปใช้ในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ข้

การใช้เครื่องช่วยหายใจ Bird respirator

การใช้เครื่องช่วยหายใจ (Respirator) โดย นิธิพัฒน ์ เจียรกุล เครื่องช่วยหายใจที่จะอธิบายต่อไปนี้ จะเป็น Bird respirator ชนิด ควบคุมด้วย ความดัน (pressure-cycled) ในที่นี้จะแบ่งการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็น 4 ส่วน คือ 1. การเริ่มใช้เครื่องช่วยหายใจ 2. การปรับเครื่องช่วยหายใจ 3. การแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยในระหว่างการใช้เครื่องช่วยหายใจ 4. การ wean และการหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจ ข้อบ่งชี้ เพื่อเริ่มการใช้เครื่องช่วยหายใจสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจด้วยตนเองได้เพียงพอ หรือมีการแลกเปลี่ยน แก๊ส ผิดปกติมาก อุปกรณ์ 1. เครื่องช่วยหายใจพร้อมสายต่อและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ 2. Spirometer สำหรับวัด tidal volume วิธีการ 1. เมื่อต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด assist/control ให้ ทำตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 ตั้งปุ่ม starting effort ทางด้านซ้ายมือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20 1.2 ตั้งปุ่ม pressure limit ทางด้านขวามือของเครื่องให้อยู่ที่ขีด 20 1.3 ใช้ฝาปิดช่องสำหรับดูดอากาศภายนอกเข้าไปผสม (air mix control) ที่อยู่ใต้ปุ่ม starting effort เพื่อให้แก๊สที่เข้าสู่ผู้ป่วยเป็นออกซิเจน 100 % สำหรับใน