บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม 5, 2011

การจัดการความรู้ทางการพยาบาล (Nursing Knowledge Management )

การจัดการความรู้ทางการพยาบาล (Nursing Knowledge Management ) ฐานิกา บุษมงคล (2554) กล่าวว่า การจัดการความรู้ทางการพยาบาล หมายถึง เกลียวแห่งการเรียนรู้จากการสร้างความรู้ และการใช้ความรู้ทางการพยาบาล โดยความรู้ทางการพยาบาลนั้นหมายถึงความรู้ด้านทฤษฎีทางการพยาบาล (Nursing Explicit Knowledge: NEK) และความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติการพยาบาล(Nursing Tacit Knowledge: NIK) การอ้างอิง ฐานิกา บุษมงคล. (2554). การจัดการความรู้ทางการพยาบาล. เผยแพร่ทาง http://thethanika.blogspot.com/

การจัดการความรู้และการวิจัยเชิงพื้นที่

รูปภาพ
การสรุปบทเรียน “การจัดการความรู้กับการวิจัยเชิงพื้นที่” การบรรยายพิเศษ ในการประชุมวิชาการราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 28 พย.2554 บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช บันทึกโดย อ.ฐานิกา บุษมงคล ขอบคุณภาพจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เนื้อหา - การจัดการความรู้ explicit (ค.ทฤษฎี)and tacit(ค.ปฏิบัติ) knowledge - “หัวใจ” ต้องรู้จักว่าหัวใจของการพัฒนาพื้นที่ คืออะไร เอามาใช้ได้อย่างไร พัฒนาได้อย่างไร - หัวใจของการจัดการความรู้ ไม่ใช่ “ความรู้” แต่อยู่ที่ “การลงมือทำ” - การค้นหาความรู้ ต้องค้นหาทั้ง explicit และ tacit knowledge - การดูงานแบบใหม่ ต้องใช้ peer assist คือ การจัดเตรียมความรู้ไป แล้วให้เพื่อนช่วยดูว่า ถ้าจะทำแบบนี้ดีหรือไม่ เพื่อนจะช่วยดูและบอกได้ว่า อ๋อ เคยทำมาแล้ว เจ๊งมาก่อนแล้ว จากนั้นนำมาปรับ ลงมือทำ แล้วต้อง จดบันทึก knowledge sharing หรือ บางครั้งต้อง share ก่อนค่อยจดบันทึก - พื้นที่การจัดการความรู้ ต้องเป็น learning organization หรือ learning society การจะทำอย่างนั้นได้ ต้องเริ่มจากชุดความรู้ของตนเอง แล้วสร้างควา