ลักษณะขององค์การที่ไม่มีประสิทธิผล
ลักษณะขององค์การที่ไม่มีประสิทธิผล คือ
1. การอุทิศจิตใจของบุคลากรให้กับวัตถุประสงค์ขององค์การมีเพียงเล็กน้อย ยกเว้นแต่ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูง
2. บุคลากรที่ทำงานและมองเห็นข้อผิดพลาด ปัญหาต่าง ๆ มักจะเก็บงำไว้ไม่นำ เรื่องนั้นไปพูดกับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
3. บุคคลที่อยู่ในตำแหน่งสูงพยายามวินิจฉัยสั่งการด้วยตนเองมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
4. ผู้บริหารมีความรู้สึกโดดเดี่ยวในการพยายามให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปด้วยดี บางครั้งระเบียบต่างๆ นโยบายและขบวนการดำเนินงานต่างๆ ไม่ได้รับการปฏิบัติตามที่ดังความมุ่งหมาย ขาดความร่วมมือ
5. บุคคลที่ทำงานไม่มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ปฏิเสธที่จะยอมรับประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน
6. การใช้ข่าวสารสะท้อนกลับถูกหลีกเลี่ยงหรือขาดการประเมินผล
7. สัมพันธภาพโดยทั่วๆ ไป เกิดขึ้นโดยไม่จริงใจซึ่งกันและกัน ถูกปิดบัง ซ่อนเร้นและมีอยู่ทั่วๆไปในที่ทำงาน
8. นักบริหารเป็นแบบบิดาที่อยู่ในกรอบของประเพณี เคร่งครัด ใครคัดค้านไม่ได้
9. นักบริหารลงมาควบคุมเรื่องเล็กๆ น้อยๆ อย่างเฉียบขาด เคร่งครัด และ ใช้ดุลยพินิจกับเรื่องเหล่านี้มากเกินไปตามกฎเกณฑ์ของโครงสร้างในองค์การดังกล่าว ทำเท่าที่สั่ง ลักษณะขององค์การที่ไปมีประสิทธิภาพ ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่ามีลักษณะและเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบที่เคร่งครัด ขาดอิสระเกินไปซึ่งมีผลต่อประสิทธิผลขององค์การได้เช่นกัน
อ้างอิง อรุณ รักธรรม. (2532). การพัฒนาองค์กร แนวคิดและการประยุกต์ใช้ระบบสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
ที่มา http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=3623.0
1. การอุทิศจิตใจของบุคลากรให้กับวัตถุประสงค์ขององค์การมีเพียงเล็กน้อย ยกเว้นแต่ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูง
2. บุคลากรที่ทำงานและมองเห็นข้อผิดพลาด ปัญหาต่าง ๆ มักจะเก็บงำไว้ไม่นำ เรื่องนั้นไปพูดกับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
3. บุคคลที่อยู่ในตำแหน่งสูงพยายามวินิจฉัยสั่งการด้วยตนเองมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
4. ผู้บริหารมีความรู้สึกโดดเดี่ยวในการพยายามให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปด้วยดี บางครั้งระเบียบต่างๆ นโยบายและขบวนการดำเนินงานต่างๆ ไม่ได้รับการปฏิบัติตามที่ดังความมุ่งหมาย ขาดความร่วมมือ
5. บุคคลที่ทำงานไม่มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ปฏิเสธที่จะยอมรับประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน
6. การใช้ข่าวสารสะท้อนกลับถูกหลีกเลี่ยงหรือขาดการประเมินผล
7. สัมพันธภาพโดยทั่วๆ ไป เกิดขึ้นโดยไม่จริงใจซึ่งกันและกัน ถูกปิดบัง ซ่อนเร้นและมีอยู่ทั่วๆไปในที่ทำงาน
8. นักบริหารเป็นแบบบิดาที่อยู่ในกรอบของประเพณี เคร่งครัด ใครคัดค้านไม่ได้
9. นักบริหารลงมาควบคุมเรื่องเล็กๆ น้อยๆ อย่างเฉียบขาด เคร่งครัด และ ใช้ดุลยพินิจกับเรื่องเหล่านี้มากเกินไปตามกฎเกณฑ์ของโครงสร้างในองค์การดังกล่าว ทำเท่าที่สั่ง ลักษณะขององค์การที่ไปมีประสิทธิภาพ ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่ามีลักษณะและเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบที่เคร่งครัด ขาดอิสระเกินไปซึ่งมีผลต่อประสิทธิผลขององค์การได้เช่นกัน
อ้างอิง อรุณ รักธรรม. (2532). การพัฒนาองค์กร แนวคิดและการประยุกต์ใช้ระบบสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
ที่มา http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=3623.0
ความคิดเห็น