แนวข้อสอบ ระบาดวิทยากับการป้องกันควบคุมโรค
- ระบาดวิทยาในงานป้องกันควบคุมโรค หมายความว่าอย่างไร
- หลักวิชาการพื้นฐานของงานสาธารณสุข
- องค์ความรู้ทางระบาดวิทยาของโรคภัย
- งานสาธารณสุขกลุ่มหนึ่ง
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- ข้อใดคือหลักการป้องกันควบคุมโรค
ก. กำจัดที่ต้นเหตุ
ข. ตัดการถ่ายทอดโรค
ค. สร้างเสริมความต้านทานให้กับผู้ที่เสี่ยงต่อโรคและภัย
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- ข้อใดคือวิธีการกำจัดหรือลดเชื้อโรค
- การฆ่าเชื้อโรคในแหล่งโรคภายนอกร่างกาย ค. การกำจัดน้ำเสียและขยะ
- การกำจัดสัตว์และแมลงนำโรค ง. การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงาน
ตอบ ก. การฆ่าเชื้อโรคในแหล่งโรคภายนอกร่างกาย
- ข้อใดเป็นวิธีการตัดการถ่ายทอดโรค หรือระงับกระบวนการก่อโรคและภัย
- การกำจัดน้ำเสียและขยะ
- แยกกักผู้ป่วยและผู้สงสัยไม่ให้แพร่เชื้อ
- การวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ป่วยที่ถูกต้องโดยเร็ว
- การควบคุมแหล่งกำเนิดปัจจัยเสี่ยง
ตอบ ก. การกำจัดน้ำเสียและขยะ
- ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการส่งเสริมให้บุคคลมีความต้านทาน หรือการป้องกันตัวต่อโรค
- การให้วัคซีนป้องกันโรค ค. การส่งเสริมโภชนาการ
- การใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล ง. ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ตอบ ข. การใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล
- การป้องกันควบคุมโรคมีกี่แบบ
- 5 แบบ ค. 2 แบบ
- 3 แบบ ง. 4 แบบ
ตอบ ค. 2 แบบ คือ 1. ป้องกันควบคุมโรคระดับบุคคล เป็นการป้องกันตามระยะการดำเนินโรคในร่างกาย 2. ป้องกันควบคุมโรคระดับชุมชน เป็นการป้องกันตามระยะของการระบาด
- ข้อใดเป็นการป้องกันควบคุมโรคระดับชุมชน
- การป้องกันควบคุมโรคหัวใจ ค. การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง
- การป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ง. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตอบ ง. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
- ข้อใดคือกลยุทธ์การป้องกันควบคุมโรค
- มีเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค
- เผยแพร่ความรู้
- สร้างความมีส่วนร่วม ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- การป้องกันควบคุมโรคในระดับพื้นที่เป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานใด
- ศูนย์สุขภาพชุมชน
- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
- เทศบาลและ อบต. ในระดับพื้นที่ และ อบจ. ในระดับจังหวัด
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. เทศบาลและ อบต. ในระดับพื้นที่ และ อบจ. ในระดับจังหวัด
- งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา หมายถึง
- กระบวนการที่ทำให้ทราบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น เป็นผลให้มีการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดได้ทันเหตุการณ์
- การดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
- การดำเนินการต่อกระบวนการเกิดโรคทุกระยะ ตั้งแต่การป้องกันไม่ให้มีโรคเกิดขึ้น หรือป้องกันไม่ให้มีความรุนแรง
- การดำเนินงานที่ติดตาม สังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจาย และสิ่งกำหนดของโรคภัยและเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง
ตอบ ง. การดำเนินงานที่ติดตาม สังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจาย และสิ่งกำหนดของโรคภัยและเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง
- ข้อใดคือระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
- ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่เป็นระบบหลัก
- ระบบเฝ้าระวังพิเศษ
- ระบบเฝ้าระวังเฉพาะกิจ
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- ข้อใดคือระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่เป็นระบบหลัก
- ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคเอดส์ ค. ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาทั่วไป
- ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- ข้อใดคือระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่เป็นระบบเฝ้าระวังพิเศษ
- การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
- การเฝ้าระวังในการแข่งขันกีฬา
- การเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง
- ถูกทั้ง ก และ ค
ตอบ ค. การเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง
- ข้อใดคือระบบเฝ้าระวังเฉพาะกิจ
- การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
- การเฝ้าระวังในการแข่งขันกีฬา
- การเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง
- การเฝ้าระวังโรคในชาวต่างชาติ
ตอบ ข. การเฝ้าระวังในการแข่งขันกีฬา
- งานสอบสวนทางระบาดวิทยาหรืองานสอบสวนโรค หมายถึง
- กระบวนการที่ทำให้ทราบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น เป็นผลให้มีการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดได้ทันเหตุการณ์
- การดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
- การดำเนินการต่อกระบวนการเกิดโรคทุกระยะ ตั้งแต่การป้องกันไม่ให้มีโรคเกิดขึ้น หรือป้องกันไม่ให้มีความรุนแรง
- การดำเนินงานที่ติดตาม สังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจาย และสิ่งกำหนดของโรคภัยและเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง
ตอบ ข. การดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
- ข้อใดเป็นลักษณะงานสอบสวนทางระบาดวิทยา
- งานสอบสวนการระบาด ค. งานสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม
- งานสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ง. ถูกทั้ง ก และ ข
ตอบ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
- โรคชนิดใดที่กำหนดให้มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
ก. โรคพิษสุนัขบ้า ค. โรคอุจจาระร่วงอย่างแรง
ข. โรคไอกรน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- การตรวจจับการระบาด หมายความว่าอย่างไร
- กระบวนการที่ทำให้ทราบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น เป็นผลให้มีการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดได้ทันเหตุการณ์
- การดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
- การดำเนินการต่อกระบวนการเกิดโรคทุกระยะ ตั้งแต่การป้องกันไม่ให้มีโรคเกิดขึ้น หรือป้องกันไม่ให้มีความรุนแรง
- การดำเนินงานที่ติดตาม สังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจาย และสิ่งกำหนดของโรคภัยและเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง
ตอบ ก. กระบวนการที่ทำให้ทราบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น เป็นผลให้มีการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดได้ทันเหตุการณ์
- ข้อใดคือกิจกรรมการตรวจจับการระบาด
- การค้นหาข่าวการระบาด ค. การติดต่อสื่อสาร
- การตรวจสอบยืนยันข่าวการระบาด ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
- หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ข้อมูล ติดต่อสื่อสาร ให้คำแนะนำ ปรึกษาในการสอบสวนและควบคุมการระบาดคือหน่วยงานใด
- สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก
- สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
- สำนักงานสาธารณสุข
- ถูกทั้ง ก และ ข
ตอบ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
ที่มา http://www.xn--12cby7cm5cdc2d3ab6dc7wic.com/?p=2439
ความคิดเห็น