การจัดการความรู้และการวิจัยเชิงพื้นที่
การสรุปบทเรียน “การจัดการความรู้กับการวิจัยเชิงพื้นที่”
การบรรยายพิเศษ ในการประชุมวิชาการราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 28 พย.2554 บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช บันทึกโดย อ.ฐานิกา บุษมงคล
เนื้อหา
- การจัดการความรู้ explicit (ค.ทฤษฎี)and tacit(ค.ปฏิบัติ) knowledge
- “หัวใจ” ต้องรู้จักว่าหัวใจของการพัฒนาพื้นที่ คืออะไร เอามาใช้ได้อย่างไร พัฒนาได้อย่างไร
- หัวใจของการจัดการความรู้ ไม่ใช่ “ความรู้” แต่อยู่ที่ “การลงมือทำ”
- การค้นหาความรู้ ต้องค้นหาทั้ง explicit และ tacit knowledge
- การดูงานแบบใหม่ ต้องใช้ peer assist คือ การจัดเตรียมความรู้ไป แล้วให้เพื่อนช่วยดูว่า ถ้าจะทำแบบนี้ดีหรือไม่ เพื่อนจะช่วยดูและบอกได้ว่า อ๋อ เคยทำมาแล้ว เจ๊งมาก่อนแล้ว จากนั้นนำมาปรับ ลงมือทำ แล้วต้อง จดบันทึก knowledge sharing หรือ บางครั้งต้อง share ก่อนค่อยจดบันทึก
- พื้นที่การจัดการความรู้ ต้องเป็น learning organization หรือ learning society การจะทำอย่างนั้นได้ ต้องเริ่มจากชุดความรู้ของตนเอง แล้วสร้างความรู้ใหม่อยู่ตลอดเวลา จนได้ชุดความรู้มากมายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
- คนที่จะมาจัดการความรู้ร่วมกัน ต้องใช้การประชุมแบบdialogue ไม่มีใครถูกผิด ใช้ใจ ใช้ความรู้สึก ไม่ห้ำหั่นกัน เกิดเป็นบรรยากาศที่ให้คุณค่าของการมองเห็นที่แตกต่างกัน ไม่ใช่ถูกผิด
- สิ่งที่เกิดขึ้นจากการจัดการความรู้ คือจะก่อเกลียวแห่งการจัดการความรู้ คุยกัน ในสิ่งที่ทำ ทำแล้วรู้สึกอย่างไร ได้ผลอย่างไร ได้ความรู้อย่างไรถอดtacit ออกเป็น explicit k.(SECI Model) หมุนอยู่ตลอดเวลา ไม่สามารถนับจำนวนครั้งได้
- km คือ “เครื่องมือ” ไม่ใช่ “เป้าหมาย”
- km เป็นจัดการความรู้ เป็น “การเรียนรู้จากความสำเร็จ(และล้มเหลว)” ส่วน วิจัยเป็นการสร้างความรู้จากโจทย์ปัญหา อยู่คนละขั้ว แม้จะอยู่คนละขั้ว แต่อยู่บนเส้นเดียวกัน
ยุคของความรู้
- ความรู้ยุคที่1 (ยุควิจัย)
• โดยนักวิชาการ
• เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นวิทยาศาสตร์
• ค.เฉพาะสาขา
• ไม่เชื่อมโยงโดยตรงกับการปฏิบัติ
• เน้น explicit k.
• ตัวแปร: ลดให้น้อยที่สุดเพื่อทดสอบและลดความแปรปรวนเน้นความคงที่ เป็นเส้นตรง
- ความรู้ยุคที่ 2 (ยุคkm)
• โดยนักปฏิบัติ
• บูรณาการ
• เน้นtacit
• แนบแน่นค.จาก/เพื่อการปฏิบัติโดยผู้ปฏิบัติ
• ตัวแปรยิ่งมากยิ่งได้ความรู้(มั่วอย่างมีระบบ
• ไดนามิค
• เป็นเกลียว
• ไม่รู้จบ
- ความรู้ยุคที่ 3 (action)
• เรียนรู้ก่อนลงมือ ภาพใหญ่ของงานคืออะไร ทีมงานคือใคร(BAR)
• ระหว่างการทำงานก็ประสานงานกัน
• หลังการทำงานก็ต้องมาคุยกัน(AAR)
- แล้วหากใช้ km ในการทำวิจัย คือการรวบรวม สังเคราะห์ วิเคราะห์ชุดความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ ว่าเป็นไปตามทฤษฎีและไม่เป็นไปตามทฤษฎีหรือไม่อย่างไร เกิดเป็นแนวคิดใหม่ ทฤษฎีใหม่ ตีพิมพ์นานาชาติได้
- เรื่องเล่าเร้าพลัง(storytelling)ที่ดี หมายถึง การบอกเล่าความสำเร็จอย่างเปิดใจ “ไม่ตั้งการ์ด” เมื่อเล่าแล้วต้องเร้าให้เกิดแรงบันดาลใจ
- สุนทรียสนทนา (dialogue) ในวงสุนทรียสนทนา “คนที่ทรงพลังที่สุดคือคนที่ฟังคนอื่นมากที่สุด” ฟังจนดำดิ่งลงไปจนถึงจิตวิญญาณของคนที่พูด คนที่เป็น moderater คือ คนที่มองตาคนอื่นแล้วทำให้เขารู้สึกสบายใจที่จะพูดอย่างเปิดเผย
- Appreciative inquiry: AI กระตุ้น ค. ให้ไหลออกมาด้วยความชื่นชม บรรยากาศเชิงบวก ต้องชื่นชมความสำเร็จที่เป็น best practice ชื่นชมความกล้า ชื่นชมการฟันฝ่าเพราะการฟันฝ่าคือความสำเร็จ
- การวิจัยและการจัดการความรู้ส่งเสริมกัน จริงๆแล้วไม่แยกกันแต่แยกเพื่อให้อธิบายแล้วเข้าใจมากขึ้น
- เป้าหมาย ของ มหาวิทยาลัย คือ ผลงานวิจัย บริการสังคม การเรียนการสอน ความใกล้ชิดพื้นที่ ระดมทรัพยากร หา นศ.
- การวิจัยเชิงพื้นที่ เพื่อ ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น etc.
- ยุทธศาสตร์การออกแบบ หนึ่งกิจกรรมหลายเป้าหมายไม่ใช่หนึ่งเป้าหมายหนึ่งกิจกรรม ต้องสุมหัวกันคิดกับพื้นที่
- วิธีเข้ามวย เป็นเพื่อนไม่ใช่ผู้ช่วยเหลือ ต้องเป็นผู้ให้หรือผู้รับแบบเท่าเทียม ทำงานอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน
- ตัวอย่างการออกแบบ: ปฏิรูปการเรียนการสอน CBC&PBL
• Competency-Based Curriculum, Projected Based Learning กำหนด competency (ทักษะ) และการวัดผล
• เรียนเป็นทีม โดยทำเป็นโครงงาน
• ทำจริงในชุมชน (บริการชุมชน)
• วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(วิจัย)
• ชวนนศ.ปโทไปด้วย(thesis)
• ชวนนักเรียนม.ปลายมาร่วมด้วย(หานศ.)
- โจทย์: จังหวัดต้องการพัฒนาการท่องเที่ยวให้ยั่งยืน
• ประมวลความรู้และข้อมูล
• ประชุมภาคี SWOT ฯลฯ
ขอบคุณภาพจาก ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
28 พฤศจิกายน 2554
ฐานิกา บุษมงคล http://thethanika.blogspot.com
การบรรยายพิเศษ ในการประชุมวิชาการราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 28 พย.2554 บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช บันทึกโดย อ.ฐานิกา บุษมงคล
ขอบคุณภาพจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เนื้อหา
- การจัดการความรู้ explicit (ค.ทฤษฎี)and tacit(ค.ปฏิบัติ) knowledge
- “หัวใจ” ต้องรู้จักว่าหัวใจของการพัฒนาพื้นที่ คืออะไร เอามาใช้ได้อย่างไร พัฒนาได้อย่างไร
- หัวใจของการจัดการความรู้ ไม่ใช่ “ความรู้” แต่อยู่ที่ “การลงมือทำ”
- การค้นหาความรู้ ต้องค้นหาทั้ง explicit และ tacit knowledge
- การดูงานแบบใหม่ ต้องใช้ peer assist คือ การจัดเตรียมความรู้ไป แล้วให้เพื่อนช่วยดูว่า ถ้าจะทำแบบนี้ดีหรือไม่ เพื่อนจะช่วยดูและบอกได้ว่า อ๋อ เคยทำมาแล้ว เจ๊งมาก่อนแล้ว จากนั้นนำมาปรับ ลงมือทำ แล้วต้อง จดบันทึก knowledge sharing หรือ บางครั้งต้อง share ก่อนค่อยจดบันทึก
- พื้นที่การจัดการความรู้ ต้องเป็น learning organization หรือ learning society การจะทำอย่างนั้นได้ ต้องเริ่มจากชุดความรู้ของตนเอง แล้วสร้างความรู้ใหม่อยู่ตลอดเวลา จนได้ชุดความรู้มากมายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
- คนที่จะมาจัดการความรู้ร่วมกัน ต้องใช้การประชุมแบบdialogue ไม่มีใครถูกผิด ใช้ใจ ใช้ความรู้สึก ไม่ห้ำหั่นกัน เกิดเป็นบรรยากาศที่ให้คุณค่าของการมองเห็นที่แตกต่างกัน ไม่ใช่ถูกผิด
- สิ่งที่เกิดขึ้นจากการจัดการความรู้ คือจะก่อเกลียวแห่งการจัดการความรู้ คุยกัน ในสิ่งที่ทำ ทำแล้วรู้สึกอย่างไร ได้ผลอย่างไร ได้ความรู้อย่างไรถอดtacit ออกเป็น explicit k.(SECI Model) หมุนอยู่ตลอดเวลา ไม่สามารถนับจำนวนครั้งได้
- km คือ “เครื่องมือ” ไม่ใช่ “เป้าหมาย”
- km เป็นจัดการความรู้ เป็น “การเรียนรู้จากความสำเร็จ(และล้มเหลว)” ส่วน วิจัยเป็นการสร้างความรู้จากโจทย์ปัญหา อยู่คนละขั้ว แม้จะอยู่คนละขั้ว แต่อยู่บนเส้นเดียวกัน
ยุคของความรู้
- ความรู้ยุคที่1 (ยุควิจัย)
• โดยนักวิชาการ
• เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นวิทยาศาสตร์
• ค.เฉพาะสาขา
• ไม่เชื่อมโยงโดยตรงกับการปฏิบัติ
• เน้น explicit k.
• ตัวแปร: ลดให้น้อยที่สุดเพื่อทดสอบและลดความแปรปรวนเน้นความคงที่ เป็นเส้นตรง
- ความรู้ยุคที่ 2 (ยุคkm)
• โดยนักปฏิบัติ
• บูรณาการ
• เน้นtacit
• แนบแน่นค.จาก/เพื่อการปฏิบัติโดยผู้ปฏิบัติ
• ตัวแปรยิ่งมากยิ่งได้ความรู้(มั่วอย่างมีระบบ
• ไดนามิค
• เป็นเกลียว
• ไม่รู้จบ
- ความรู้ยุคที่ 3 (action)
• เรียนรู้ก่อนลงมือ ภาพใหญ่ของงานคืออะไร ทีมงานคือใคร(BAR)
• ระหว่างการทำงานก็ประสานงานกัน
• หลังการทำงานก็ต้องมาคุยกัน(AAR)
- แล้วหากใช้ km ในการทำวิจัย คือการรวบรวม สังเคราะห์ วิเคราะห์ชุดความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ ว่าเป็นไปตามทฤษฎีและไม่เป็นไปตามทฤษฎีหรือไม่อย่างไร เกิดเป็นแนวคิดใหม่ ทฤษฎีใหม่ ตีพิมพ์นานาชาติได้
- เรื่องเล่าเร้าพลัง(storytelling)ที่ดี หมายถึง การบอกเล่าความสำเร็จอย่างเปิดใจ “ไม่ตั้งการ์ด” เมื่อเล่าแล้วต้องเร้าให้เกิดแรงบันดาลใจ
- สุนทรียสนทนา (dialogue) ในวงสุนทรียสนทนา “คนที่ทรงพลังที่สุดคือคนที่ฟังคนอื่นมากที่สุด” ฟังจนดำดิ่งลงไปจนถึงจิตวิญญาณของคนที่พูด คนที่เป็น moderater คือ คนที่มองตาคนอื่นแล้วทำให้เขารู้สึกสบายใจที่จะพูดอย่างเปิดเผย
- Appreciative inquiry: AI กระตุ้น ค. ให้ไหลออกมาด้วยความชื่นชม บรรยากาศเชิงบวก ต้องชื่นชมความสำเร็จที่เป็น best practice ชื่นชมความกล้า ชื่นชมการฟันฝ่าเพราะการฟันฝ่าคือความสำเร็จ
- การวิจัยและการจัดการความรู้ส่งเสริมกัน จริงๆแล้วไม่แยกกันแต่แยกเพื่อให้อธิบายแล้วเข้าใจมากขึ้น
- เป้าหมาย ของ มหาวิทยาลัย คือ ผลงานวิจัย บริการสังคม การเรียนการสอน ความใกล้ชิดพื้นที่ ระดมทรัพยากร หา นศ.
- การวิจัยเชิงพื้นที่ เพื่อ ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น etc.
- ยุทธศาสตร์การออกแบบ หนึ่งกิจกรรมหลายเป้าหมายไม่ใช่หนึ่งเป้าหมายหนึ่งกิจกรรม ต้องสุมหัวกันคิดกับพื้นที่
- วิธีเข้ามวย เป็นเพื่อนไม่ใช่ผู้ช่วยเหลือ ต้องเป็นผู้ให้หรือผู้รับแบบเท่าเทียม ทำงานอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน
- ตัวอย่างการออกแบบ: ปฏิรูปการเรียนการสอน CBC&PBL
• Competency-Based Curriculum, Projected Based Learning กำหนด competency (ทักษะ) และการวัดผล
• เรียนเป็นทีม โดยทำเป็นโครงงาน
• ทำจริงในชุมชน (บริการชุมชน)
• วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(วิจัย)
• ชวนนศ.ปโทไปด้วย(thesis)
• ชวนนักเรียนม.ปลายมาร่วมด้วย(หานศ.)
- โจทย์: จังหวัดต้องการพัฒนาการท่องเที่ยวให้ยั่งยืน
• ประมวลความรู้และข้อมูล
• ประชุมภาคี SWOT ฯลฯ
ขอบคุณภาพจาก ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
28 พฤศจิกายน 2554
ฐานิกา บุษมงคล http://thethanika.blogspot.com
ความคิดเห็น